ปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฎิบัติงานและ ทดแทนตำแหน่งที่สูงขึ้นในองค์กรเป็นปัญหา ใหญ่ เนื่องจากบุคลากรในวัย Gen X และ Gen Y ะมีอัตราการลาออกค่อนข้างสูงมาก ะการใช้วิธี การสอนแบบเดิมๆ จากผู้จัดการย่อมไม่ทัน ดังนั้นใช้กระบวนการสอนในรูป แบบใหม่ซึ่งเราเรียกว่า “การโค้ชงาน (Coaching)” จะให้โค้ชชี่ (ทีมงาน) สามารถดึงศักยภาพที่มีอยู่แล้วให้นำออกมา ใช้อย่างเต็มประสิทธิผล ด้วยความเต็มใจ และเป็นที่ยอมรับจากผู้ฝึกสอนด้วย
สาเหตุที่การโค้ชงาน (Coaching) เหมาะกับบุคสมัยนี้เป็นเพราะ... ความรู้ความสามารถหาได้จากแหล่งต่างๆ บุคลากรชอบให้สอนมากกว่าการสั่งและบังคับ ความเชื่อว่า “ทุกคนมีศักยภาพเหลืออยู่อีกมาก” หากพนักงานเลือกวิธีการของตัวเอง จะให้งานออกมาดี การกระตุ้นให้คิดเอง เกินประสิทธิผลมากกว่าบอกให้ทำ การปฏิบัติกับกลุ่มดาวเด่น (Talent) ต้องพัฒนาที่จุดเด่น
Step 1 : หลักพื้นฐานของการเป็นโค้ช (Fundamentals for Coaching) หลักสูตร: พื้นฐานของการเป็นโค้ช โค้ชคอยช่วยเหลือให้ผู้อื่นสร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยตัวเอง โดยการดึงศักยภาพที่มีอยู่ของโค้ชชี่ ด้วยการทำให้โค้ชชี่มองเห็นตัวเองแล้วเลือกทางที่เหมาะสมกับตัวเอง เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ได้ด้วยตัวเอง นิยามการเป็นโค้ช บทบาทสำคัญของโค้ช การพัฒนาภาวะผู้นำของตัวเอง เรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติมนุษย์ การโค้ชงาน ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน ความเหมือนและความแตกต่างของการสอนงาน Step 2 : การพัฒนาทักษะการโค้ชงาน (Coaching Skill) โค้ชมุ่งเน้นการใช้คำถามเชิงสร้างสรรค์ให้โค้ชชี่คิด แล้วเปิดใจรับฟังโค้ชชี่เสมือนหนึ่งเป็นกระจกสะท้อนด้านดีที่โค้ชชี่เกิดแรงบันดาลใจไปสู่เป้าหมายของตัวเอง กระบวนการการโค้ชงานคุณภาพ ทักษะดารใช้คำถามประเภทต่างๆ (Questioning) ทักษะการรับฟังอย่างตั้งใจ (Deep Listionong) ทักษะให้ข้อมูลป้อนกลับ (Positive Feedback) ทักษะการสร้างแรงจูงใจและกำลังใจ (Motivation) ทักษะการกำหนดเป้าหมายที่ดี (Goad seting) Step 3 : การพัฒนาตัวเองให้เป็นโค้ชที่ดี (To Be Good Coach) โค้ชที่ดีพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง ยอมรับในศักยภาพของโค้ชชี่ มีทัศนคติที่ดีต่อการโค้ชงาน ต่อโค้ชชี่และต่อโค้ชเอง โดยให้ความสำคัญที่กระบวนการโค้ชงานที่ดีมากกว่าผลลัพธ์ที่เป็นความต้องการของโค้ช หลักของการโค้ชที่ดี หลุมพรางทางความคิดเชิงลบของโค้ช การพัฒนาเทคนิคการเป็นของตัวเอง บทบาทผู้นำ...ในฐานะโค้ช คุณสมบัติของโค้ชที่ดี เทคนิคการสื่อสารสร้างสัมพันธ์ Step 4 : การฝึกปฏิบัติการโค้ชงานของตัวเอง (Pratition Coaching)การปฏิบัติจริงด้วยตัวเอง กระตุ้นให้โค้ชสร้างกระบวนการโค้ชงานที่ดี เกิดความเชื่อมั่นและพัฒนาทักษะการโค้ชงานของตัวเอง ทำให้มองเห็นด้านดีและด้านที่ต้องปรับปรุงของตัวเองได้ชัดเจนขึ้น การปฏิบัติจริง (Role Playing) ของตัวเอง การปฏิบัติผ่านกรณีศึกษา (Case Study) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การปรับเปลี่ยนตำแหน่งการโค้ช การสรุปผลลัพธ์ที่จะนำไปฝึกฝน Step 5 : เทคนิคการสร้างเครื่องมือของโค้ช (Create Coach’s Tools) โค้ชควรช่วยเหลือโค้ชชี่ผ่านกระบวนการโค้ชงานด้วยเทคนิคที่เป็นประโยชน์กับโค้ชชี่ และมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ของโค้ชชี่โดยการพัฒนาเทคนิคเครื่องมือของโค้ชด้วยตัวโค้ชเอง การสร้างชุดคำถามสำหรับโค้ช การใช้คำสำคัญ (Key words) ประกอบการโค้ช การใช้ภาพลักษณ์ (Model) ประกอบการโค้ช การใช้เรื่องเล่า (Story Telly) ประกอบการโค้ช การใช้หนังสือ (Book) ประกอบการโค้ช การใช้หลักการ (Principle) ประกอบการโค้ช Step 6 : การฝึกปฏิบัติการโค้ชงานขั้นสูงของตัวเอง การฝึกปฏิบัติด้วยสถานการณ์จริง จะทำให้โค้ชเกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการโค้ชงานของตัวเองเพิ่มขึ้น จนพัฒนาให้กลายเป็นธรรมชาติในการโค้ชงานให้กับทีมงานต่อไป การปฏิบัติจริง (Role Playing) ของตัวเอง การปฏิบัติผ่านกรณีศึกษา (Case Study) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การปรับเปลี่ยนตำแหน่งการโค้ช การสรุปผลลัพธ์ที่จะนำไปฝึกฝน Step 7 : การพัฒนาตัวเองเป็นโค้ชผู้บริหาร (To Be Ececutive Coach) ผู้บริหารมีศักยภาพและความสามารถจากประสบการณ์ของตัวเองอยู่แล้ว โค้ชเพียงทำหน้าที่ให้ผู้บริหารพิจารณาตัวเองแล้วกำหนดแนวทางที่จะปฏิบัติให้ถูกต้องกับเป้าหมายของผู้บริหารเอง เทคนิคการสร้างหลักการโค้ชชิ่งของตัวเอง เทคนิคการสร้างกระบวนการโค้ชชิ่งของตัวเอง การออกแบบโปรแกรมการโค้ชผู้บริการ (EC Program) องค์ประกอบสำคัญของหารโค้ชผู้บริหาร กำหนดโครงการ “Coach the Coaches”
การสร้างการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงและนำไปปฏิบัติจริงด้วย Style ของตัวเอง การใช้การฝึกอมรมในรูปแบบ (Training&Coaching) เพื่อให้ผู้เรียนได้ทั้งความรู้และแนวทางการโค้ช (Coaching) ระหว่างการฝึกอบรมจะเกิดความรู้สึกร่วมในกระบวนการด้วยทันที กิจกรรมที่ใช้ประกอบการฝึกอบรมสร้างความเข้าใจอย่างแท้จรอง เช่น.. - การสร้างแนวคิดของตัวเอง (Workshop) - การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) - การปฏิบัติการจากกรณีศึกษา (Case Study) - การวิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ (Show&Share) - การฝึกปฏิบัติจริง (Palitiner Coaching) สร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เกิดความสนุกสนาน และมีอิสระในการคิด ผ่านการดำเนินการในรูปแบบ Coach the Coaches ทำให้ผู้เรียน ครุ่นคิดและค้นหาตัวเอง เพื่อการพัฒนาให้ตัวเองเป็นโค้ชที่ดีด้วยวิธีการที่ผู้รับเป็น ผู้เลือกเอง